ท่าข้ามเมืองน่าอยู่ พัฒนาสู่ EEC  
เมนูเทศบาล
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
ตราสัญลักษณ์เทศบาล
download แบบฟอร์มเทศบาล
วีดีทัศน์เทศบาลตำบลท่าข้าม
เอกสารประชาสัมพันธ์
ศูนย์ดำรงธรรม
โครงสร้าง
อำนาจหน้าที่
แผนพัฒนาท้องถิ่น
ข้อมูลการติดต่อ
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ประกาศต่างๆ
Social Network
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล Privacy Policy
แผนดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานฯ รอบ 6 เดือน
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
คู่มือหรือมาตรฐานการปฎิบัติงาน
คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ
ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
รายงานติดตามการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี รอบ ๖ เดือน
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี ๒๕๖๔
แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง หรือการจัดหาพัสดุรายเดือน
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้าง หรือจัดหาพัสดุประจำปี
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
แนวปฏิบัติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี
ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
นโยบายไม่รับของขวัญ (No Gift Policy)
การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต
การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
รายงานการกำกับติดตามฯการป้องกันการทุจริต รอบ ๖ เดือน
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี
ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
การขับเคลื่อนจริยธรรม
การประเมินจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ
มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสฯ
เทศบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายทั่วไป
การประชุมสภาเทศบาลตำบลท่าข้าม
มาตรการการวิเคราะห์ ประเมินความเสี่ยงการทุจริตของหน่วยงาน
ประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติหน่วยงาน ชมเชยบุคคลต้นแบบด้านคุณธรร
คำสั่งด้านการบริหารงานบุคคล
รายงานการตรวจสอบการเงิน สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
คำสั่งจัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารและแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ฯ
แผนแม่บทระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะผู้บริหาร
ฝ่ายบริหาร
ฝ่ายนิติบัญญัติ
บุคลากรในเทศบาล
สำนักปลัดเทศบาล
กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ
กองคลัง
กองช่าง
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
กองการศึกษา
กองสวัสดิการสังคม
หน่วยงานตรวจสอบภายใน
ภายในเว็บ Google
แบบสำรวจความคิดเห็น
ผลงานที่ผ่านมาของเทศบาลตำบลท่าข้าม ท่านพอใจในด้านใด
สถานที่ท่องเที่ยว
งานประเพณี
สังคมสงเคราะห์
ส่งเสริมการศึกษา
งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ดูผลโหวด
สถิติผู้เยี่ยมชม
กำลังออนไลน์32คน
ผู้ชมวันนี้443คน
ผู้ชมเมื่อวาน1573คน
ผู้ชมเดือนนี้20733คน
ผู้ชมเดือนก่อน25450คน
ผู้ชมทั้งสิ้น3276478คน

ข้อมูลเกียวกับอาเซียน

          นับถอยอีกเพียง 1 ปี ประเทศไทยของเราก็จะเข้าสู่ประชาคมอาเซียนแล้วนะคะสำหรับทางประเทศไทย ที่เป็น 1 ใน 5 ของประเทศผู้ก่อตั้งอาเซียน ในขณะนี้ทางหน่วยงานทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน ต่างก็พากันเตรียมความพร้อมเพื่อต้อนรับปีอาเซียนที่กำลังจะมาถึงนี้...

           เราในฐานะประชาชนชาวไทย ก็รับรู้ถึงความร่วมมือร่วมใจที่เตรียมตัวในการพัฒนาประเทศของเราเพื่อจับ มือร่วมกับ 10  ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ให้สมาชิกทั้ง 10 ประเทศสามารถอยู่รวมกันได้อย่างเข็มแข็ง และมีมิตรภาพ พร้อมจูงมือกันก้าวสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน… ในวันนี้กระปุกดอทคอมก็ ขอนำข้อมูลเกี่ยวกับอาเซียน และประชาคมอาเซียน มาให้ได้ทราบกันว่า การรวมตัวกันของ 10 ประเทศอาเซียน จะนำพาเราไปสู่การพัฒนาอะไรบ้าง และต้นกำเนิดของอาเซียนมีประวัติความเป็นมาอย่างไร

 ประวัติการก่อตั้งอาเซียน
           อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East AsianNations หรือ  ASEAN) ก่อ ตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) ซึ่งได้มีการลงนามที่วังสราญรมย์ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสมาชิกก่อตั้ง 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ และ ไทย ซึ่งผู้แทนทั้ง 5 ประเทศ ประกอบด้วย

            - นายอาดัม มาลิก (รัฐมนตรีต่างประเทศอินโดนีเซีย)
            
            - นายตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน (รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกลาโหมและรัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติมาเลเซีย)

            - นายนาซิโซ รามอส (รัฐมนตรีต่างประเทศฟิลิปปินส์)

            - นายเอส ราชารัตนัม (รัฐมนตรีต่างประเทศสิงค์โปร์)

            - พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย)

           ทั้งนี้ ในเวลาต่อมาได้มีประเทศต่าง ๆ เข้าเป็นสมาชิกเพิ่มเติม ได้แก่ บรูไนดารุสซาลาม (เป็นสมาชิกเมื่อ 8 มกราคม พ .ศ.2527) เวียดนาม (เป็นสมาชิกเมื่อ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538) ประเทศลาว, ประเทศพม่า (เป็นสมาชิกเมื่อ 23 กรกฎาคม พ.ศ .2540) และประเทศกัมพูชา (เป็นสมาชิกเมื่อ 30 เมษายน พ.ศ. 2542) ทั้งนี้ ในปัจจุบันมีสมาชิกอาเซียนทั้งหมด 10 ประเทศ

 

วัตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเซียน

          วัตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเซียน คือ เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศในภูมิภาค ธำรงไว้ซึ่ง สันติภาพเสถียรภาพ และความมั่นคงทางการเมือง สร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคม และ วัฒนธรรมการกินดีอยู่ดีของประชาชนบนพื้นฐานของความเสมอภาคและผลประโยชน์ร่วม กันของประเทศสมาชิก โดยแบ่งออก เป็นข้อ ๆ ได้ดังนี้

        1. เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และการบริหาร

        2. เพื่อส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค

        3. เพื่อเสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและพัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค

        4. เพื่อเสริมสร้างให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี

        5. เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในรูปแบบของการฝึกอบรมและการวิจัยและส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

        6. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการค้า ตลอดจนปรับปรุงการขนส่งและการคมนาคม

        7. เพื่อส่งเสริมความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และองค์การระหว่างประเทศ

กำลังแสดงหน้าที่ 1/7 Next »